วันอาทิตย์ที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2553

ประเมินผลงาน 100 คะแนน

ขอให้เพื่อนๆ ครู ญาติ และท่านผู้มีเกียรติทั้งหลายร่วมประเมินผลงาน โดยมีคะแนนเต็ม 100 คะแนน
และขอขอบคุณทุกท่านที่เข้ามาประเมิน

วันอาทิตย์ที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2553

new work+

เอสเทอร์

http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet5/topic8/ester.html
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C




ลิพิด

http://www.cmw.ac.th/elibrary/fileselibrary/Science/pansre002/section3_p01.html
http://nakhamwit.ac.th/pingpong_web/biochem_web/Lipid.htm




ฮอร์โมน

http://www.bs.ac.th/lab2000/web_bio/hor.htm

http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AE%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%82%E0%B8%A1%E0%B8%99




น้ำมันปาล์ม

http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%9B%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B9%8C%E0%B8%A1



น้ำมันถั่วเหลือง

http://guru.sanook.com/pedia/topic/%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%96%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87/




น้ำมันมะกอก

http://www.rspg.or.th/experimental_project/olive/olive15.htm




จุดหลอมเหลว
http://th.wikipedia.org/wiki/จุดหลอมเหลว

http://www.promma.ac.th/e-learn/start_melt-boiling1.html

new work

แอนติบอดี
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%B5




วิตามินดี
http://www.bangkokhealth.com/index.php/2009-01-19-04-21-22/1257-2009-01-22-06-13-39




กรดสเตียริก
http://www.electron.rmutphysics.com/science-glossary/index.php?option=com_content&task=view&id=12505&Itemid=5




กลีเซอรอล
http://www.puabio.com/tag/%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%A5/




โซดาไฟ
http://www.vinythai.co.th/ourchemicalproducts/causticsoda/0,,1955-8-0,00.htm

วันอาทิตย์ที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2553

ข้อสอบ O-net 53




ตอบ ข้อ 4.

คำอธบาย
โครงสร้างของดีเอ็นเอเป็นเกลียวคู่กรดนิวคลีอิก (อังกฤษ: nucleic acid) เป็นโพลิเมอร์ของนิวคลีโอไทด์ ที่ต่อกันด้วยพันธะฟอสโฟไดเอสเทอร์( phosphodiester bond ) โดยที่หมู่ของฟอสเฟตที่เป็นส่วนประกอบของพันธะจะเชื่อมโยงระหว่างหมู่ ไฮดรอกซิลที่ตำแหน่ง 5' ของนิวคลีโอไทด์โมเลกุลหนึ่งกับหมู่ไฮดรอกซิลที่ตำแหน่ง 3' ในโมเลกุลถัดไป จึงทำให้นิวคลีโอไทด์มีโครงสร้างของสันหลัง ( backbone ) เป็นฟอสเฟตกับน้ำตาลและมีแขนงข้างเป็นเบส อาจจำแนกได้เป็น DNA และ RNA








ตอบ ข้อ 1.

คำอธิบาย
สารละลายที่สามารถตรวจสอบอาหารประเภทโปรตีน จำพวกแป้ง) มีสีนำตาล โดยถ้าตรวจพบแป้งจะเปลี่ยนสีจากสีน้ำตาลเป็นสีม่วงบ้าง นำเงินบ้าง หรือม่วงแกมน้ำเงินบ้า ซึ่งแล้วแต่การสังเกต
และชนิดของอาหารและยังสามารถนำไปตรวจสอบวิตามินซีได้โดยผสมกับน้ำแป้งสุก

ที่มา http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=360957a0faf11fd8







ตอบ ข้อ 4.

คำอธิบาย
กรดไขมัน แบ่งได้เป็น 2 ชนิดใหญ่ ๆ ตามโครงสร้างทางชีวเคมี คือ

1.กรดไขมันอิ่มตัว (saturated fatty acid) จะมีอะตอมของคาร์บอนที่ต่อกันเป็นลูกโซ่ด้วยพันธะเดี่ยวเท่านั้น โดยที่แขนของคาร์บอนแต่ละตัวจะจับอะตอมของไฮโดรเจนเต็มไปหมด ไม่มีแขนว่างอยู่เลย

ไขมันชนิดนี้จะมีอยู่ในอาหารจำพวกที่ เราเห็นเป็นชั้นสีขาวติดอยู่ในเนื้อสัตว์ หรือหนังสัตว์ปีก ไข่แดง น้ำมันหมู เนย นม ผลิตภัณฑ์จากนม รวมถึงน้ำมันที่ได้จากพืชบางชนิดก็เป็นแหล่งไขมันอิ่มตัวด้วย เช่น กรดไขมัน พาลมิติก (palmitic) ที่มีมากในน้ำมันปาล์ม น้ำมันมะพร้าว ในไขมันสัตว์และผลิตภัณฑ์นมเนย กรดไขมันชนิดนี้จะมีสถานะอันเฉื่อยเนือยในกระบวนการเคมีของร่างกาย ถ้าไม่ถูกย่อยไปใช้เป็นพลังงานก็มีแนวโน้มที่จะตกตะกอนในหลอดเลือด ทำให้ไขมันในเลือดสูง เกิดความเสี่ยงที่จะอุดตันในหลอดเลือดได้ เป็นต้นเหตุของโรคความดันโลหิตสูง หัวใจและสมองขาดเลือด เป็นอัมพฤกษ์ อัมพาต ฯลฯ

2. กรดไขมันไม่อิ่มตัว(unsaturated fatty acid) จะมีอะตอมของคาร์บอนที่เรียงตัวกันเกิดมีบางตำแหน่งที่จับไฮโดรเจนไม่เต็มกำลังเกิดมีแขนคู่ (double bond) อยู่บางตำแหน่ง ทำให้มันมีความว่องไวในปฏิกิริยาทางเคมีพร้อมที่จะเปิดรับปฏิกิริยาต่าง ๆ ด้านหนึ่งก็เป็นประโยชน์แก่ร่างกาย การบริโภคไขมันชนิดนี้ จะช่วยให้คอเลสเตอรอลในเลือดลดลงแต่อีกด้านหนึ่งก็พร้อมที่จะทำปฏิกิริยากับออกซิเจนเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่นกลายเป็นอนุมูลอิสระตัวก่อปัญหาทางสุขภาพ

ที่มา http://nutrition.anamai.moph.go.th/fat-acid.doc







ตอบ ข้อ 2.

คำอธิบาย
กรด อมิโน (AMINO ACIDS Overview)
กรด อมิโน เป็นหน่วยทางเคมีของร่างกายเพื่อสร้างโปรตีนซึ่งโปรตีนจะไปสร้างโมเลกุล เส้นเอ็น อวัยวะ ข้อต่อ เล็บ ผม การเจริญเติบโต และ การดูแลซ่อมแซม เซล ขึ้นอยู่กับ กรด อมิโน ด้วย น้ำเป็นส่วนประกอบมากที่สุดของร่างกายลองลงมาก็คือโปรตีน กรด อมิโน ที่ได้ จากการกินอาหารจะเรียกว่า “กรด อมิโน เอสเซ็น-เชียล” ส่วน กรด อมิโน ที่ร่างกายสามารถสร้างเองได้จะเรียกว่า “กรด อมิโน นอน เอสเซ็นเชียล”

ที่มา http://aminoacidandhealthy.blog.mthai.com/







ตอบ ข้อ 2.

คำอธิบาย
กรดดีออกซีไรโบนิวคลีอิก
(Dexyribonucleic acid ; DNA)

DNAเป็นพอลิเมอร์ของดีออกซีไรโบนิวคลีโอไทด์ พบมากในนิวเคลียสของเซลล์พบส่วน
น้อยในคลอโรพลาสต์ พลาสมิค(plasmid)ไมโทคอนเดรีย DNA ของคนจะอยู่ในนิวเคลียส โดยบรรจุอยู่ในโครโมโซมมีทั้งหมด 23 คู่โดยใน 1 โครโมโซมมี DNA 1 โมเลกุล DNA ของโปรคาริโอต เช่น แบคทีเรียมีลักษณะโมเลกุลเป็นวงแหวนสายคู่ (แบบ -ปลายปิด)ไม่อยู่กับโปรตีน ส่วนโมเลกุลของ DNA ในยูคาริโอตมีลักษณะสายคู่พันกันเป็นเกลียวแบบปลายเปิด อยู่ร่วมกับโปรตีนฮีสโตน (histone) จับกันด้วยพันธะอิออนิก เรียก DNA ที่อยู่รวมกันกับฮีสโตนว่า โครมาทิน(Chromatin) ซึ่งโครมาทินจะอยู่ในนิวเคลียสของเซลล์ DNA ของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดจะมีขนาดและรูปร่างแตกต่างกันไป

ที่มา sci.hatyaiwit.ac.th/word/nu.doc

วันเสาร์ที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2553






คำอธิบาย

อินซูลิน คือฮอร์โมนชนิดอนาโบลิกโพลีเพบไทด์ ซึ่ทำหน้าที่ควบคุมการเผลาผลาญคาร์โบไฮเดรต นอกจากนี้ยังทำหน้าที่เป็นสารตัวกระทำในคาร์โบไฮเดรทชนิดโฮมีโอสตาซิส มีผลต่อการเผาผลาญไขมันเปลี่ยนการทำงานของตับให้ทำหน้าที่เก็บหรือปลดปล่อย กลูโคส และทำให้เกิดการทำงานของลิพิด (ไขมัน) ในเลือดและในเนื้อเยื่ออื่น เช่นไขมันและกล้ามเนื้อ ปริมาณของอินซูลินที่เวียนอยู่ในร่างกายมีผลกระทบสูงมากในวงกว้างในทุกส่วน ของร่างกาย


ตอบ 1) ก และ ข

ที่มา http://th.wikipedia.org/wiki/





คำอธิบาย

โครงสร้างของคาร์โบไฮเดรต คาร์โบไฮเดรตประกอบด้วยธาตุองค์ประกอบหลัก ได้แก่ คาร์บอน ไฮโดรเจนและออกซิเจน สำหรับแป้ง เซลลูโลสและไกลโคเจน เกิดจากกลูโคสหลายโมเลกุลมารวมตัวกันเป็นคาร์โบไฮเดรตโมเลกุลใหญ่ ตัวอย่างโครงสร้างของแป้งและเซลลูโลส
แป้งในสภาวะที่เป็นกรดจะถูกไฮโดร ไลซ์ได้ง่ายได้สารที่มีโมเลกุลเล็กลงเรียกว่า เด็กซ์ตริน เมื่อถูกไฮโดรไลซ์ต่อไปจะได้มอลโทสและกลูโคส ตามลำดับ แป้งที่อยู่ในร่างกายจะถูกย่อยโดยเอนไซม์อะไมเลสและมอลเทส
เซลลูโลสทำ หน้าที่เป็นโครงสร้างของพืช การไฮโดรไลซ์เซลลูโลสอย่างสมบูรณ์จะได้กลูโคสเป็นผลิตภัณฑ์
สำหรับไกลโค เจนซึ่งเป็นคาร์โบไฮเดรตที่สะสมอยู่ในเซลล์ของสัตว์ พบมากในตับและกล้ามเนื้อ ไกลโคเจนประกอบด้วยกลูโคสเชื่อมต่อกันคล้ายกับส่วนที่เป็นอะไมโลเพกตินของ แป้ง แต่จะมีมวลโมเลกุลมีโซ่กิ่งมากกว่า

ตอบ 1)

ที่มา http://school.obec.go.th/mclschool/6.2.2/Carbohidred.htm




คำอธิบาย

พันธะเพปไทด์ คือ พันธะโคเวเลนท์ที่เกิดขึ้นระหว่าง C อะตอมในหมู่คาร์บอกซิล ของกรดอะมิโนโมเลกุลหนึ่งยึด
กับ N อะตอม ในหมู่อะมิโน (-NH2) ของกรดอะมิโนอีกโมเลกุลหนึ่ง
กรดอะมิโน (amino acid) ประกอบด้วยอะตอมของธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจนและไนโตรเจนนอกจากนี้บางชนิด
อาจประกอบด้วยอะตอมของธาตุอื่นๆ อีก เช่น ฟอสฟอรัส เหล็กและกำมะถัน เป็นตัน
กรดอะมิโนแต่ละชนิดสามารถต่อ กันได้ด้วยพันธะโคเวเลนท์ที่มีชื่อเฉพาะว่า พันธะเพปไทด์ (peptide bond) โครงสร้างซึ่ง
ประกอบด้วยกรดอะมิโนที่ต่อกันเป็นสายนี้เรียกว่า เพปไทด์
สาร ที่ประกอบด้วยกรดอะมิโน 2 โมเลกุล เรียกว่า ไดเพปไทด์
สารที่ประกอบด้วย กรดอะมิโน 3 โมเลกุล เรียกว่า ไตรเพปไทด์
สารที่ประกอบด้วยกรดอะมิโน ตั้งแต่ 100 โมเลกุลขึ้นไป เรียกว่า พอลิเพปไทด์นี้ว่า โปรตีน

ตอบ 2)

ที่มา http://www.enn.co.th/news/147/ARTICLE/4860/2008-10-05.html